การ ทำ โครง งาน

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ระบุสิ่งที่คาดว่าจะได้รับหลังจากทำโครงงานนี้แล้ว

  1. การพัฒนาโครงงาน |
  2. การทําโครงงาน ppt

การพัฒนาโครงงาน |

วิธีการทำโครงงาน โครงงาน คือ งานวิจัยเล็กๆ สำหรับ เป็นการแก้ปัญหา หรือข้อสงสัยโดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หากเนื้อหาหรือข้อสงสัยเป็นไปตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ใดจะเรียกว่าโครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้นั้น ๆ การทำโครงงาน 1. กำหนดปัญหา หัวข้อเรื่อง 2. ตั้งสมมุติฐาน หรือคำตอบชั่วคราว 3. ออกแบบการศึกษาค้นคว้า การทดลอง 4. ลงมือปฏิบัติ 5. สรุปผลโดยการจัดทำรายงานโครงงาน...... อาจมีปัญหาใหม่เกิดขึ้น....... 6. นำเสนอผลงาน ประเมินผล 7. จัดนิทรรศการ ส่งประกวด หัวข้อการเขียนรายงานโครงการ 1. โครงงานกลุ่มสาระการเรียนรู้.............. เรื่อง.............. 2. ผู้จัดทำ............ อาจารย์ที่ปรึกษา.............. โรงเรียน......... สังกัด....... ระดับชั้น.... 3. บทคัดย่อ 4. กิตติกรรมประกาศ 5. บทที่ 1 บทนำ ที่มาและความสำคัญของโครงงาน........ วัตถุประสงค์........ สมมุติฐานของการศึกษาค้นคว้า...... ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า........ ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง........... (ถ้ามี).... 6. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการทำโครงงานเรื่องนี้ 7. บทที่ 3 อุปกรณ์ วิธีดำเนินการศึกษา 8. บทที่ 4 ผลการศึกษา และอภิปรายผล 9. บทที่ 5 สรุปผล ประโยชน์ ข้อเสนอแนะ 10.

การทํา โครงงาน
เอกสารอ้างอิง 11. หมายเหตุ: ตัวอย่างโครงงานเป็นของนักเรียน จึงมีรูปแบบหลากหลายตามความสามารถของนักเรียนแต่ละระดับชั้น
  • การทําโครงงาน ppt
  • ขั้นตอนการทำโครงงาน - kittisakbeam03
  • การทํา โครงงาน
  • ความ หมาย เพลง So Far Away
  • ริมคลองคาเฟ่ | เมอเวนพิค บีดีเอ็มเอส เวลเนส รีสอร์ท กรุงเทพ

การทําโครงงาน ppt

โครงงานตุ๊กตาถุงเท้าการบูร โครงการตุ๊กตาต้นข้าว การประดิษฐ์ตุ๊กตาจากเศษผ้า สร้างความตระหนักและจิตสำนึกความมีระเบียบวินัยให้กับนักเรียน 2. ประชาสัมพันธ์ทุกเช้าและพักกลางวัน 3. ติดป้ายรณรงค์การเข้าแถว ต่อคิว ตามจุดต่างๆในโรงเรียน 4. ผู้บริหาร และครูเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับนักเรียน 8) หลักธรรมที่นำมาใช้ อิทธิบาท 4 การบูรณาการกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณ. นักเรียนรู้จักการรอคอย ความมีเหตุผลรู้จักเคารพสิทธิของผู้อื่น ความมีภูมิคุ้มกันที่ดีทำให้นักเรียนมีระเบียบวินัยในการเข้าแถว เงื่อนไข 1. เงื่อนไขความรู้รับรู้ถึงการปลูกจิตสำนึกความความมีระเบียบวินัย 2. เงื่อนไขคุณธรรม มีวินัย เคารพสิทธิของผู้อื่น 9) ความเชื่อมโยงสู่คุณธรรมอัตลักษณ์ เชื่อมโยงกับคุณธรรมเป้าหมาย: เด็กดี มีวินัย ใส่ใจรับผิดชอบ พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก: ผู้บริหารและครูมีการปฏิบัติเป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องของความมีวินัย และเอาใจใส่นักเรียนในการเรียนการสอน การปฏิบัติตนของนักเรียน 10) วิธีการวัดและประเมินผล 10. 1 วิธีการวัดผล วิธีการประเมิน: การสังเกต 10. 2 เครื่องมือการวัดผล เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน: แบบสังเกต 10. 3 ช่วงระยะเวลา ช่วงเวลาการประเมิน: สัปดาห์ละ 1 ครั้ง 1 1) ผู้รับผิดชอบโครงงาน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 7 คน เด็กชายธนวัฒน์ ชีตะลักษณ์ เด็กชายบุรินทร์ เวียงวิเศษ เด็กชายศรุต ยิ้มจันทร์ เด็กหญิงเบญจมาศ เชื่องวงษ์ เด็กหญิงอริสา ดวงแข เด็กชายธวัชชัย นาสมใจ เด็กชายณัฐพนธ์ คงการุญ 1 2) ที่ปรึกษาโครงงาน นางสาววันทนีย์ ส้มเกลี้ยง ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ไดโอดเปล่งแสง(LED) 2 ตัว 2.

เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นขอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือนว่าการจัดทำโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการลงมือพัฒนาตามขั้นตอนที่วางแผนไว้ ดังนี้ การเตรียมการ การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่นๆ ที่จะใช้ในการพัฒนาให้ พร้อมด้วย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้ มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สา หรับ บันทึกการทำ กิจกรรมต่างๆ ระหว่างทำ โครงงาน ได้แก่ ได้ปฏิบัติอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหา และแก้ไขได้หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่างๆ ที่พบ การลงมือพัฒนา 1. ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้ในเค้าโครง แต่อาจเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ถ้าพบว่าจะช่วยทำ ให้ผลงานดีขึ้น 2. จัดระบบการทำ งานโดยทำ ส่วนที่เป็นหลักสา คัญๆ ให้แล้วเสร็จก่อน จึงต่อยทำ ส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริมเพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามีการแบ่งงานกันทำ ให้ตกลงรายละเอียดในการต่อเชื่อมชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย 3.

การวางแผน การวางแผนการทำโครงงาน จะรวมถึงการเขียนเค้าโครงของโครงงาน ซึ่งต้องมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การดำเนินการเป็นไปอย่างรัดกุมและรอบคอบ ไม่สับสน แล้วนำเสนอต่อผู้สอนหรือครูที่ปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบก่อนดำเนินการขั้นต่อไป การเขียนเค้าโครงของโครงงาน โดยทั่วไป เขียนเพื่อแสดงแนวคิด แผนงาน และขั้นตอนการทำโครงงาน ซึ่งควรประกอบด้วยหัวข้อต่อไปนี้ 1. ชื่อโครงงาน ควรเป็นข้อความที่กะทัดรัด ชัดเจน สื่อความหมายได้ตรง 2. ชื่อผู้ทำโครงงาน 3. ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน 4. หลักการและเหตุผลของโครงงาน เป็นการอธิบายว่าเหตุใดจึงเลือกทำโครงงานเรื่องนี้ มีความสำคัญอย่างไร มีหลักการหรือทฤษฎีอะไรที่เกี่ยวข้อง เรื่องที่ทำเป็นเรื่องใหม่หรือมีผู้อื่นได้ศึกษาค้นคว้าเรื่องนี้ไว้บ้างแล้ว ถ้ามีได้ผลอย่างไร เรื่องที่ทำได้ขยายเพิ่มเติม ปรับปรุงจากเรื่องที่ผู้อื่นทำไว้อย่างไร หรือเป็นการทำซ้ำเพื่อตรวจสอบผล 5. จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ควรมีความเฉพาะเจาะจง และสามารถวัดได้ เป็นการบอกขอบเขตของงานที่จะทำได้ชัดเจนขึ้น 6. สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า (ถ้ามี) สมมติฐานเป็นคำตอบหรือคำอธิบายที่คาดไว้ล่วงหน้า ซึ่งอาจจะถูกหรือไม่ก็ได้ การเขียนสมมติฐานควรมีเหตุมีผลมีทฤษฎีหรือหลักการรองรับ และที่สำคัญ คือ เป็นข้อความที่มองเห็นแนวทางในการดำเนินการทดสอบได้ นอกจากนี้ควรมีความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามด้วย 7.

การปฏิบัติได้ เพราะงานออกมาดีตามที่ตั้งใจไว้ 3. ผลการปฏิบัติตรงตามจุดมุ่งหมายที่ได้กำหนดไว้ 4. ข้อบกพร่อง มีจุดที่ไม่ค่อยเรียบร้อยบางจุดก็ถือว่าดี ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ทราบถึงสรรพคุณของการบูร และนำมาใช้ประโยชน์ในการลดกลิ่นอับ 2. ได้เรียนรู้ถึงวิธีการทำและผลิตตุ๊กตาถุงเท้าการบูร 3. ได้เผยแพร่ผลงานซึ่งเป็นประโยชน์แก่เพื่อน ๆ และผู้ที่สนใจ 12. เอกสารอ้างอิง - 13. ตั๋ว เครื่องบิน ไป กลับ เชียงราย ดูหนัง The Last House on the Left (2009) วิมานนรกล่าเดนคน - Ghost in the shell 1995 พากย์ ไทย online Samsung galaxy note 9 ราคา ais ผล ฉลาก 16 3. 6. 1 ราคา ปั๊ม รถ ดูด ส้วม Thai culture มี อะไร บ้าง บริษัท ชิ บา คา วะ ประเทศไทย จํา กัด

การทําโครงงาน ตัวอย่าง
December 8, 2022