ประเภท ของ สารสนเทศ

ประเภทของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ สรุปประเภทของระบบสาสรสนเทศ Executive Information Systems (EIS) ลักษณะ ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง (Executive Information System: EIS) ระบบ สารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง คือ MIS ประเภทพิเศษที่ถูกพัฒนาสำหรับผู้บริหารระดับสูง โดยเฉพาะช่วยให้ผู้บริหารระดับสูงที่ไม่คุ้นเคยกับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถ ใช้ระบบสารสนเทศได้ง่ายขึ้น โดยใช้เมาส์เลื่อนหรือจอภาพแบบสัมผัส เพื่อเชื่อมโยงข่าวสารระหว่างกันทำให้ผู้บริหารไม่ต้องจำคำสั่ง ข้อดี 1. ง่ายต่อผู้บริหารระดับสูงในการใช้งาน 2. การใช้งานไม่จำเป็นต้องมีความรู้เรื่องคอมพิวเตอร์ 3. ให้สารสนเทศสรุปของบริษัทในเวลาที่ต้องการ 4. ทำให้สามารถเข้าในสารสนเทศได้ดีขึ้น 5. มีการกรองข้อมูลให้ประหยัดเวลา 6. ทำให้ระบบสามารติดตามสารสนเทศได้ดีขึ้น ข้อด้อย 1. มีข้อจำกัดในการใช้งาน 2. อาจทำให้ผู้บริหารจำนวนมากรู้สึกว่าได้รับข้อมูลมากเกินไป 3. ยากต่อการประเมินผลประโยชน์ที่ได้จากระบบ 4. ไม่สามารถทำการคำนวณที่ซับซ้อนได้ 5. ระบบอาจนะใหญ่เกินกว่าที่จะจัดการได้ 6. ยากต่อการรักษาข้อมูลให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา 7. ก่อให้เกิดปัญหาการรักษาความลับของข้อ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม (GROUP DECISION SUPPORT SYSTEMS) 1.

Wilaiwan Ngoensuk: 10.ระดับของสารสนเทศ

ผู้บริหารระดับล่าง เป็นการใช้สารสนเทศในการปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน เช่น ผู้จัดการใช้โปรแกรมไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนสารสนเทศกับหัวหน้าแผนกต่าง ๆและนักเรียนใช้สารสนเทศในการทำงานหรือในการเรียนในวิชาต่าง ๆ 2. ผู้บริหารระดับกลาง เป็นการใช้สารสนเทศเพื่อการวางแผนระยะสั้น เหมาะสำหรับงานประเภทการควบคุมและจัดการ เช่น ผู้จัดการนำสารสนเทศมาวางแผนการผลิตสินค้าให้ทันต่อความต้องการของลูกค้า และนักเรียนใช้สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเลือกเรียนวิชาเลือกที่เหมาะสมกับนักเรียน 3. ผู้บริหารระดับสูง เป็นการใช้สารสนเทศเพื่อการวางแผนระยะยาว ใช้สำหรับควบคุมนโยบายและวางแผนเชิงกลยุทธ์ สารสนเทศที่ใช้จึงมักเป็นผลสรุปที่สามารถนำมาประกอบ การวิเคราะห์ การประเมินและการตัดสินใจได้ง่ายยิ่งขึ้น เช่นผู้จัดการนำผลสรุปค่าเฉลี่ยการผลิตสินค้ามาใช้ในการตัดสินใจซื้อ เครื่องจักรใหม่ และนักเรียน ใช้ผลสรุปคะแนนเรียนทั้งหมดมาตัดสินใจเลือกศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยตามความสามารถ เพื่อประโยชน์ในการประกอบอาชีพ

ช่วยให้การประชุมบรรลุผลในระยะเวลาที่สมควร 7. มีหลักฐานการประชุมแน่ชัด ข้อด้อย ใช้ เวลาในการตัดสินใจยาวนาน กว่าการตัดสินใจเพียงคนเดียว เนื่องจากต้องมีการเสนอความคิดเห็นจากแต่ละบุคคล มีข้อโต้แย้ง จำเป็นต้องมีการทบทวนผลสรุป ตรวจสอบ และรับรองผลสรุป ในขั้นตอนสุดท้าย

ทรัพยากรสารสนเทศ «

5. วัสดุอิเล็กทรอนิกส์ คือ ทรัพยากรสารสนเทศ ที่มีการแปลงสารสนเทศเป็นสัญญาณ อิเล็กทรอนิกส์กลับคืนเป็นภาพ หรือเสียง ได้แก่ วิดีทัศน์ ซีดี-รอม วิธีเลือกใช้วัสดุตีพิมพ์ การเลือกใช้วัสดุตีพิมพ์เป็นความจำเป็นที่นักเรียนจะต้องพิจารณาว่า วัสดุตีพิมพ์ประเภทใด เหมาะสำหรับใช้ประกอบการเรียนรู้ในสถานที่ใด เวลาใด อย่างไร สถานการณ์ไหน เพื่อให้ตรงตาม วัตถุประสงค์ และใช้ได้อย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพ คุ้มค่าแก่เวลา 1. หนังสือ สามารถเลือกใช้ได้ตามวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1. 1 หนังสือสารคดี 1. 1 ตำราวิชาการ อ่านประกอบการเรียนซึ่งเป็นแบบเรียนของวิชาต่าง ๆ 1. 2 หนังสืออ่านประกอบ อ่านประกอบเนื้อหาของวิชาต่าง ๆ ให้ได้ความรู้ ละเอียดลึกซึ้งขึ้น 1. 3 หนังสือความรู้ทั่วไป อ่านเพื่อค้นคว้าเพิ่มเติมตามหัวข้อที่ต้องการโดยดูจากสารบัญ หรืออ่านตามความสนใจ 1. 4 หนังสืออ้างอิง อ่านเพื่อการค้นหาคำตอบเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือเนื้อหาที่ต้องการค้น 1. 2 หนังสือบันเทิงคดี อ่านเพื่อความบันเทิงเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ นวนิยาย หนังสือสำหรับ เด็ก รวมเรื่องสั้น 2. สิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง สามารถเลือกใช้ได้ตามวัตถุประสงค์ ดังนี้ 2. 1 หนังสือพิมพ์รายวัน อ่านเพื่อทราบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน และเหตุการณ์ใน ชีวิตประจำวัน เช่น คอลัมน์สมัครงาน โฆษณา ซื้อ ขาย แลกเปลี่ยนสินค้า และตอบปัญหาสุขภาพ เป็นต้น 2.
  1. ดอย สุ เทพ มี อะไร บ้าง
  2. ทรัพยากรสารสนเทศ «
  3. Living hill เชียงใหม่ co
  4. งาน เชื่อม โลหะ เบื้องต้น
  5. ปิด touchpad windows 10.0
  6. หม้อแปลง ไฟฟ้า ppt
December 7, 2022