ขนม ไทย ภาค กลาง

แบ่งแป้งที่ผสมแล้วออกเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกแบ่งไว้ทำสีขาว และส่วนที่สอง ไว้ทำสีม่วงโดยเติมน้ำดอกอัญชัน (น้ำใบเตยหรือสีผสมอาหาร)ลงไปคนให้เข้ากัน 5. นำถาดที่ต้องการ (หรือแบบพิมพ์ที่เตรียมไว้) ใส่บนลังถึงตั้งบนไฟแรง ๆ พอน้ำเดือดเปิดฝา ตักแป้งสีขาวเทใส่ลงในถาดเกลี่ยให้ทั่วถาดบางที่สุด ปิดฝาเพื่อให้สุกประมาณ 5 นาที เปิดดูแป้งจะมีลักษณะใส จากนั้นตักแป้งสีม่วง (หรือสีที่ผสมลงไป) ใส่ลงไป อีก ทำสลับกันจนแป้งหมด (เคล็ดลับ: ควรใช้ภาชนะที่มีความจุเท่ากันในการตวงแป้งเทแต่ละชั้น เพื่อที่จะได้แป้งที่มีความหนาเท่า ๆ กัน) 6. นึ่งจนขนมสุกทั้งหมด แล้วยกลงทิ้งไว้ให้เย็นประมาณ 2 ชั่วโมงจึงตัดเป็นชิ้นเพื่อเสริฟ (เคล็ดลับ: ก่อนที่จะเทแป้งเพื่อทำชั้นต่อไปทุกครั้ง จะต้องแน่ใจว่าขนมในชั้นล่างนั้นสุกแล้วจริง ๆ ไม่เช่นนั้น แป้งชั้นนั้นจะไม่สุกเลย ถึงแม้จะใช้เวลานึ่งนานเท่าใดก็ตาม) 10. ) ขนมสเน่ห์จันทร์ ส่วนผสม แป้งข้าวเหนียว 1/2 ถ้วยตวง แป้งข้าวเจ้า 1 ถ้วยตวง หัวกะทิ 3 ถ้วยตวง น้ำตาลทราย 2 ถ้วยตวง ไข่ไก่ 2 ฟอง ผงจันป่น 1/2 ช้อนชา ผสมอาหารสีเหลือง วิธีทำ ผสมแป้งทั้งสองชนิดเข้าด้วยกัน ผสมหัวกะทิกับน้ำตาล ละลายแล้วกรองผสมแป้งกับกะทิ และผงจันป่นสีเหลือง ตั้งไฟอ่อน กวนจนจับกัน ไข่ไก่ใช้แต่ไข่แดง ใส่ขณะแป้งร้อน รีบคนให้เข้ากัน ยกลง พอขนมอุ่นปั้นได้ ให้ปั้นเป็นรูปผลจัน ตรงขั้วผลใช้น้ำตาลเคี่ยวสีน้ำตาลหยอด #แหล่งที่มาเพิ่มเติม# 1.

ขนมภาคกลาง | ชอบ น่ะ

จากนั้นจึงแต่งหน้าด้วยน้ำมันพริกเผาเล็กน้อย ทอดข้าวตังให้สุกเหลืองกรอบ เสิร์ฟคู่กัน ทองหยิบ ความหมายทองหยิบ เป็น ขนมม งคล ชนิดหนึ่ง มี ลักษณะ งดงามคล้าย ดอกไม้สีทอง ต้องใช้ความสามารถและ ความพิถีพิถัน เป็นอย่างมาก ใน การ ประดิษฐ์ประดอย จับกลีบให้มีความงดงามเหมือนกลีบดอกไม้ ชื่อ ขนมทองหยิบ เป็นชื่อ สิริมงคล เชื่อว่าหากนำไปใช้ประกอบ พิธีมงคล ต่างๆ หรือให้เป็น ของขวัญ แก่ใครแล้ว จะทำให้เกิดความมั่งคั่งร่ำรวย หยิบจับ การงาน สิ่งใดก็จะ ร่ำรวย มีเงินมีทอง สมดังชื่อ "ทองหยิบ" ส่วนผสมของขนมทองหยิบ ไข่เป็ด 10 ฟอง น้ำตาลทราย 1 กิโลกรัม น้ำลอยดอกมะลิ 5 ถ้วยตวง 1. ผสมน้ำ น้ำตาลทราย ตั้งไปให้เดือด พอเหนียว ตักน้ำเชื่อมขึ้นใส่ถาดไว้พอประมาณ ส่วนที่เปลือตั้งไฟต่อไป 2. แยกไข่แดง ไข่ขาว 3. ตีไข่แดงให้ขึ้น ไข่จะเปลี่ยนเป็นสีนวล 4. ตักไข่ที่ตีได้ที่แล้วหยอดลงในน้ำเชื่อมที่ตั้งอยู่บนไฟอ่อนให้เป็นวงกลมพอสุกกลับอีกด้านหนึ่งลง 5. ตักแผ่นทองหยิบขึ้นวางในน้ำเชื่อมที่เตรียมไว้ ใช้นิ้วหัวแม่มือ นิ้วกลาง นิ้วชี้ ของมือซ้าย หยิบไข่ ตามด้วย นิ้วหัวแม่มือนิ้วชี้ ของมือขวา หยิบขึ้นใส่ในถ้วยตะไล

ซาวข้าวเหนียวจนสะอาด ใส่สารส้มลงไป เติมน้ำเปล่าลงไปจนท่วมข้าวเหนียว จากนั้นคนผสมจนเข้ากัน แช่ทิ้งไว้อย่างน้อย 3 ชั่วโมง • 2. ล้างข้าวเหนียวที่แช่กับสารส้มไว้จนสะอาด สะเด็ดน้ำแล้วพักไว้สักครู่ • 3. เทข้าวเหนียวลงในหวดนึ่งข้าว ใส่ใบเตยลงไป นำหวดไปวางลงในน้ำเดือด นึ่งนานประมาณ 20 นาที จนข้าวเหนียวสุก • 4.

ขนมไทยภาคกลาง ส่วนใหญ่ทำมาจากข้าวเจ้า เช่น ข้าวตัง นางเล็ด ข้าวเหนียวมูน และมีขนมที่หลุดลอดมาจากรั้ววัง จนแพร่หลายสู่สามัญชนทั่วไป เช่น ลูกชุบ หม้อข้าวหม้อแกง ฝอยทอง ทองหยิบ ขนมตาล ขนมกล้วย ขนมเผือก เป็นต้น ขั้นตอนและวิธีการทำข้าวตัง ข้าวตังหน้าตั้ง ส่วนผสมข้าวตังหน้าตั้ง ข้าวตัง 1/2 กก. น้ำมันสำหรับทอด ส่วนผสมน้ำจิ้ม เนื้อหมูสับละเอียด 1 ถ้วย กุ้งสับละเอียด 1 ถ้วย กระเทียมซอย 1/2 ถ้วย หอมแดงซอย 1/2 ถ้วย กะทิ 2 ถ้วย น้ำปลา 2 ช้อนโต๊ะ น้ำมะขาม 1 ช้อนโต๊ะ น้ำตาลปี๊บ 2 ช้อนโต๊ะ น้ำมันน้ำพริกเผา 1 ช้อนโต๊ะ วิธีทำข้าวตังหน้าตั้ง 1. นำข้าวตัง ทอดกับน้ำมันจนสุกกรอบ พักให้สะเด็ดน้ำมัน 2. นำกะทิตั้งไฟพอเดือดแล้วเคี่ยวให้แตกมันเล็กน้อย แล้วใส่เนื้อสัตว์ ผัดพอสุก 3. ใส่ส่วนผสมอื่นๆ ลงตามปรุงรส รสชาติจะออกเปรี้ยว หวาน เค็ม 4. จากนั้นจึงแต่งหน้าด้วยน้ำมันพริกเผาเล็กน้อย ทอดข้าวตังให้สุกเหลืองกรอบ เสิร์ฟคู่กัน ขั้นตอนและวิธีการทำทองหยิบ ความหมายทองหยิบ เป็น ขนมมงคล ชนิดหนึ่ง มี ลักษณะ งดงามคล้าย ดอกไม้สีทอง ต้องใช้ความสามารถและ ความพิถีพิถัน เป็นอย่างมาก ใน การ ประดิษฐ์ประดอย จับกลีบให้มีความงดงามเหมือนกลีบดอกไม้ ชื่อ ขนมทองหยิบ เป็นชื่อ สิริมงคล เชื่อว่าหากนำไปใช้ประกอบ พิธีมงคล ต่างๆ หรือให้เป็น ของขวัญ แก่ใครแล้ว จะทำให้เกิดความมั่งคั่งร่ำรวย หยิบจับ การงาน สิ่งใดก็จะ ร่ำรวย มีเงินมีทอง สมดังชื่อ "ทองหยิบ" ส่วนผสมของขนมทองหยิบ ไข่เป็ด ๑๐ ฟอง น้ำตาลทราย ๑ กิโลกรัม น้ำลอยดอกมะลิ ๕ ถ้วยตวง วิธีทำ ๑.

ขนมไทยภาคกลาง | ขนมไทย 4 ภาค

ข้าวตังหน้าตั้ง ส่วนผสม 1. ข้าวตัง 1/2 กก. 2. น้ำมันสำหรับทอด ส่วนผสมน้ำจิ้ม 1. เนื้อหมูสับละเอียด 1 ถ้วย 2. กุ้งสับละเอียด 1 ถ้วย 3. กระเทียมซอย 1/2 ถ้วย 4. หอมแดงซอย 1/2 ถ้วย 5. กะทิ 2 ถ้วย 6. น้ำปลา 2 ช้อนโต๊ะ 7. น้ำมะขาม 1 ช้อนโต๊ะ 8. น้ำตาลปี๊บ 2 ช้อนโต๊ะ 9. น้ำมันน้ำพริกเผา 1 ช้อนโต๊ะ วิธีทำ 1. นำข้าวตัง ทอดกับน้ำมันจนสุกกรอบ พักให้สะเด็ดน้ำมัน 2. นำกะทิตั้งไฟพอเดือดแล้วเคี่ยวให้แตกมันเล็กน้อย แล้วใส่เนื้อสัตว์ ผัดพอสุก 3. ใส่ส่วนผสมอื่นๆ ลงตามปรุงรส รสชาติจะออกเปรี้ยว หวาน เค็ม 4. จากนั้นจึงแต่งหน้าด้วยน้ำมันพริกเผาเล็กน้อย ทอดข้าวตังให้สุกเหลืองกรอบ เสิร์ฟคู่กัน 5. ) ฟักทองบวด ส่วนผสม 1. ฟักทองหั่นเป็นชิ้นพอดีคำ 2 ถ้วยตวง 2. น้ำเปล่า 2 1/2 ถ้วยตวง 3. หัวกะทิ 1 ถ้วยตวง 4. หางกะทิ 1 ถ้วยตวง 5. ใบเตย 2 ใบ 6. น้ำตาลทราย 40 กรัม 7. น้ำตาลปี๊บ 40 กรัม 8. เกลือป่น 1/4 ช้อนชา วิธีทำ 1. ทำความสะอาดและหั่นฟักทองเป็นชิ้นพอดีคำ เพื่อความสวยงามไม่ต้องปอกเปลือกออก 2. นำหางกะทิ, ใบเตย, น้ำตาลทรายและน้ำตาลปี๊บใส่ลงไปในหม้อ และนำไปตั้งบนไฟร้อนปานกลางจนเดือด 3. ใส่ฟักทองที่หั่นไว้แล้วลงไป ต้มต่อไปจนฟักทองสุกและนุ่ม (ใช้เวลาประมาณ 10 นาที) 4.

เชื่อมน้ำเชื่อมโดยใช้น้ำ 1 ถ้วย น้ำตาลทราย 3 ถ้วย 2. ผสมแป้งทั้ง 4 ชนิด เข้าด้วยกัน แล้วนวดกับกะทิ โดยค่อย ๆ ใส่กะทิทีละน้อย ๆ นวดนาน ๆ จนกะทิหมด แล้วใส่น้ำเชื่อมคนให้เข้ากัน พอให้แป้งติดหลังมือนิดหน่อย 3. กรองแป้งทั้งหมด แล้วแบ่งแป้งครึ่งหนึ่งเป็นสีขาว อีกครึ่งหนึ่งใส่ใบเตยหรือสีตามชอบ 4. นำถาดไปนึ่งแล้วทาน้ำมันให้ทั่ว ใส่แป้งสีขาวประมาณ 1/2 ถ้วย แล้วนึ่งให้สุกประมาณ 5 นาที ชั้นที่ 2 ใส่สีเขียว แล้วนึ่งอีกประมาณ 5 นาที ทำเช่นนี้ไปจนหมดแป้ง แล้วให้ชั้นสุดท้ายเป็นสีเข้มกว่าชั้นอื่น ๆ เมื่อสุกยกลงทิ้งให้เย็น แล้วตัดเป็นชิ้นตามต้องการ ขั้นตอนและวิธีการทำข้าวตัง ข้าวตังหน้าตั้ง ส่วนผสมข้าวตังหน้าตั้ง ข้าวตัง 1/2 กก. น้ำมันสำหรับทอด ส่วนผสมน้ำจิ้ม เนื้อหมูสับละเอียด 1 ถ้วย กุ้งสับละเอียด 1 ถ้วย กระเทียมซอย 1/2 ถ้วย หอมแดงซอย 1/2 ถ้วย กะทิ 2 ถ้วย น้ำปลา 2 ช้อนโต๊ะ น้ำมะขาม 1 ช้อนโต๊ะ น้ำตาลปี๊บ 2 ช้อนโต๊ะ น้ำมันน้ำพริกเผา 1 ช้อนโต๊ะ วิธีทำข้าวตังหน้าตั้ง 1. นำข้าวตัง ทอดกับน้ำมันจนสุกกรอบ พักให้สะเด็ดน้ำมัน 2. นำกะทิตั้งไฟพอเดือดแล้วเคี่ยวให้แตกมันเล็กน้อย แล้วใส่เนื้อสัตว์ ผัดพอสุก 3. ใส่ส่วนผสมอื่นๆ ลงตามปรุงรส รสชาติจะออกเปรี้ยว หวาน เค็ม 4.

นำถั่วที่มีเนื้อละเอียดดีแล้วมาใส่ลงกระทะทองพร้อมทั้งน้ำตาลทรายขาว 7. กวนด้วยไฟอ่อน ๆ จนเนื้อถั่วข้นเหนียว ล่อนไม่ติดกระทะ 8. ยกถั่วลงปล่อยไว้ให้เย็นแล้วจึงนวดให้เป็นเนื้อเดียวกัน 9. แบ่งถั่วเป็นก้อนขนาดเท่ากับลูกชุบที่ต้องการปั้น 10. นำไปอบควันเทียนมีกลิ่นหอมจรุงทุกเม็ด ก่อนจะนำมาปั้นแต่งจนกลายเป็นผลไม้ชนิดต่าง ๆ 11. นำลูกชุบที่ปั้นเสร็จแล้วมาชุบวุ้น 2-3 ครั้ง โดยการชุบแต่ละครั้งต้องรอให้วุ้นแห้งก่อนแล้วจึงชุบทับ วิธีการอบควันเทียน 1. นำถั่วที่กวนได้ที่พักไว้ให้เย็น ใส่ในภาชนะที่มีฝาปิด ไม่ควรใช้ภาชนะพลาสติกจะทำให้กลิ่นเหม็นของ พลาสติกปนในถั่วกวน 2. วางถ้วยกระเบื้องเล็กไว้ตรงกลางถั่วกวน 3. จุดเทียนอบทั้ง 2 ข้าง ให้เปลวไฟติดดีแล้วดับให้เกิดควัน 4. วางเทียนบนถ้วยกระเบื้อง ปิดฝาให้สนิทพักไว้ประมาณ 1 – 2 ชั่วโมง 5. กลับถั่วด้านบนลงข้างล่าง แล้วจุดเทียนอบใหม่อีกครั้ง ซึ่งครั้งนี้อาจจะพักไว้ค้างคืนเลยก็ได้

ขนมไทย ภาคกลาง - nichapad may

Skip to content ขนมไทย 4 ภาค Home ประวัติขนมไทย ภาคกลาง ขนมหม้อแกง ลูกชุบ ข้าวตังหน้าตั้ง ฝอยทอง ทองหยิบ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ข้าวจี่ ข้าวโป่ง ข้าวต้มมัด ข้าวยาคู ภาคเหนือ ขนมเทียน ขนมวง ขนมจ๊อก ข้าวเกรียบว่าว ภาคใต้ ขนมลา ขนมพอง ข้าวต้มห่อใบกะพ้อ ขนมหน้าไข่ ขนมก้านบัว

  • รักษา ป่า ไม้
  • Pb 1 ดอก form
  • ขนมไทยภาคกลาง | ขนมไทย
  • ขนมไทย ภาคกลาง
  • ซาวด์ บาร์ ราคา ถูก
  • บทสัมภาษณ์ - สุขใจที่พอเพียง
  • ฝา โดม 95
  • ขนมไทยภาคกลาง – ขนมไทย4ภาค
  • ขนมภาคกลาง | ชอบ น่ะ

นำถั่วเขียวเลาะเปลือกมาทำความสะอาด และแช่น้ำทิ้งไว้ประมาณ 2 ชั่วโมง จากนั้นจึงนำไปนึ่งให้สุก ใช้เวลาประมาณ 15 นาที) 2. เมื่อถั่วเขียวสุกดีแล้ว ให้นำไปใส่ในเครื่องปั่นไฟฟ้า พร้อมกับน้ำตาลทรายและน้ำกะทิ ปั่นจนส่วนผสมทั้งหมดเข้ากันดี 3. จากนั้นจึงเทส่วนผสมลงในกระทะทองเหลือง (หรือกระทะเคลือบเทฟลอนก็ได้)และตั้งบนไฟอ่อนๆ ค่อยๆกวนจนข้นและเหนียว (ใช้เวลาประมาณ 20 – 30 นาที) จึงปิดไฟ และทิ้งไว้ให้เย็น (ถั่วต้องแห้ง มิเช่นนั้นจะไม่สามารถนำไปปั้นได้) 4. ก่อนปั้นให้นวดส่วนผสมทั้งหมดอีกครั้งจนเข้ากันเป็นเนื้อเดียว จากนั้นจึงปั้นให้เป็นรูปทรงตามใจชอบ (ผัก, ผลไม้หรือสัตว์น่ารักๆ) เมื่อปั้นเสร็จให้เสียบไม้จิ้มฟันรอไว้ ควรปั้นส่วนผสมทั้งหมดให้เสร็จเรียบร้อยก่อน ถั่วที่ปั้นเสร็จแล้วควรห่อไว้ด้วยผ้าขาวบางชุบน้ำหมาดๆ 5. ผสมสีผสมอาหารตามต้องการ แล้วจึงบรรจงแต่งสีลงบนถั่วปั้นให้เหมือนจริง หรือตามแต่ความชอบ 6. ทำน้ำวุ้นโดยผสมน้ำเปล่า, ผงวุ้นและน้ำตาล ลงในหม้อ นำไปตั้งบนไฟร้อนปานกลาง หมั่นคนอย่างสม่ำเสมอ รอจนส่วนผสมเดือด ช้อนฟองที่ลอยหน้าออก จึงหรี่ไฟลง 7. นำถั่วปั้นที่แต่งสีแล้วไปชุบในน้ำวุ้น ควรชุบประมาณ 2 – 3 ครั้ง ระหว่างชุบวุ้นต้องอุ่นน้ำวุ้นด้วยไฟอ่อนเพื่อไม่ให้วุ้นแข็ง ถ้าไม่พอก็ผสมน้ำวุ้นขึ้นใหม่ตามอัตราส่วนข้างต้น 8.

December 8, 2022