ใบ ทองหลาง ลาย | ทองหลาง &Raquo; สมุนไพรไทย

ต้นทองหลางลาย ต้นไม้ประจำจังหวัดปทุมธานี ต้นไม้ประจำจังหวัด ปทุมธานี ชื่อพันธุ์ไม้ ชื่อสามัญ Indian Coral Tree, Variegated Tiger's claw ชื่อวิทยาศาสตร์ Erythrina variegata Linn. ชื่ออื่น ทองบ้าน, ทางเผือก (ภาคเหนือ), ทองหลางด่าง, ทองหลางลาย (กรุงเทพฯ) ลักษณะทั่วไป ต้นทองหลางลายเป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 5–10 เมตร กิ่งอ่อนมีหนามเรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 3 ใบ ใบกลางจะโตกว่าสองใบด้านข้าง ออกดอกเป็นช่อยาวประมาณ 30–40 ซม. รูปดอกถั่ว สีแดงเข้ม ออกดอกระหว่างเดือน มกราคม-กุมภาพันธ์ ผลเป็นฝักยาว 15–30 ซม. ขยายพันธุ์ โดยการเพาะเมล็ด และปักชำ สภาพที่เหมาะสม สภาพดินทุกชนิด ชอบดินร่วนซุย กลางแจ้ง ถิ่นกำเนิด เอเชียเขตร้อนและอบอุ่น คำขวัญประจำจังหวัดปทุมธานี ถิ่นบัวหลวง เมืองรวงข้าว เชื้อชาวมอญ นครธรรมะ พระตำหนักรวมใจ สดใสเจ้าพระยา ก้าวหน้าอุตสาหกรรม ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคใต้ เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง ทองหลางลาย ต้นไม้ประจำจังหวัดปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ปทุมธานี ต้นทองหลางลาย ต้นไม้ประจำจังหวัด

  1. ทองหลางลาย
  2. ทองหลางลาย | Erythrina variegata Linn. : BGO Plant Database-ฐานข้อมูลพันธุ์ไม้ องค์การสวนพฤกษศาสตร์
  3. เรื่องน่ารู้ : ทองหลางลาย | เดลินิวส์
  4. ต้นไม้ประจำจังหวัดปทุมธานี ต้นทองหลางลาย - ๑๐๘ พรรณไม้ไทย

ทองหลางลาย

ทองหลางลาย การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ อาณาจักร: Plantae หมวด: Magnoliophyta ชั้น: Magnoliopsida อันดับ: Fabales วงศ์: Fabaceae วงศ์ย่อย: Faboideae สกุล: Erythrina สปีชีส์: E. variegata ชื่อทวินาม Erythrina variegata Lin ชื่อพ้อง Erythrina indica Lam.

อ่านบทความอัตโนมัติ ชื่อไทย: ทองหลางใบมนด่าง ชื่อท้องถิ่น: ทองหลางลาย ทองหลางด่าง ทองหลางใบมนด่าง ทองหลางดอกแดงทองเผือก (ไทย)/ ชื่อถง ไห่ถงผี (จีนกลาง) ชื่อสามัญ: - ชื่อวิทยาศาสตร์: Erythrina variegata L. ชื่อวงศ์: FABACEAE-LEGUMINOSAE และอยู่ในวงศ์ย่อย FABOIDEAE-PAPILIONOIDEAE-PAPILIONACEAE สกุล: Erythrina สปีชีส์: variegata ชื่อพ้อง: -Chirocalyx candolleanus Walp. -Chirocalyx divaricatus Walp. -Chirocalyx indicus Walp. -Chirocalyx pictus Walp. -Corallodendron divaricatum (Moc. & Sesse) Kuntze -Corallodendron orientale (L. ) Kuntze -Corallodendron spathaceum (DC. ) Kuntze -Erythrina alba Cogn. & Marchal, Erythrina boninensis Tuyama -Erythrina carnea Blanco -Erythrina corallodendron Lour. -Erythrina divaricata DC. -Erythrina indica Lam. -Erythrina lithosperma Miq. -Erythrina lobulata Miq. -Erythrina loueir i -Erythrina marmorata Planch. -Erythrina mysorensis Gamble -Erythrina orientalis Murray -Erythrina parcelli hort. -Erythrina phlebocarpa Bailey -Erythrina picta L. -Erythrina rostrata Ridl.

ชื่อสามัญ Indian coral tree, Variegated tiger's claw, Variegated coral tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Erythrina variegata L. ชื่อวงศ์ FABACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 5-10 เมตร กิ่งอ่อนมีหนามเรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 3 ใบ ใบกลางจะโตกว่าสองใบด้านข้าง ดอก เป็นช่อยาวประมาณ 30-40 เซนติเมตร รูปดอกถั่ว ผล เป็นฝักยาว 15-30 เซนติเมตร การใช้ประโยชน์ ปลูกเป็นไม้ประดับ ใบสดรับประทานได้ มีสรรพคุณทางยา ช่วยให้เจริญอาหาร แก้ปวดฟัน ช่วยแก้อาเจียน ใช้เป็นยานอนหลับได้ดี บริเวณที่พบ ข้างสระน้ำอาคาร 42 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ทองหลางลาย | Erythrina variegata Linn. : BGO Plant Database-ฐานข้อมูลพันธุ์ไม้ องค์การสวนพฤกษศาสตร์

ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดเมื่อวันที่ 15 มี. ค. 2021 เวลา 23:33:17 น. โดย 910 ทองหลางลาย ชื่อวิทยาศาสตร์: Erythrina variegata L. ชื่อสามัญ: Indian coral tree, Tiger's claw, Variegated coral tree, Variegated tiger's claw.

ทองหลางลาย หรือทองบ้าน, ทองเผือก (ภาคเหนือ), ทองหลางด่าง, ปาริชาต (กรุงเทพฯ) (ชื่อวิทยาศาสตร์: Erythrina variegata) เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 5-10 เมตร กิ่งอ่อนมีหนามเรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 3 ใบ ใบกลางจะโตกว่าสองใบด้านข้าง ออกดอกเป็นช่อยาวประมาณ 30-40 เซนติเมตร รูปดอกถั่ว สีแดงเข้ม ออกดอกระหว่างเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ ผลเป็นฝักยาว 15-30 เซนติเมตร ทองหลางลายกระจายพันธุ์ในเอเชียทั้งเขตร้อนและเขตอบอุ่น เจริญได้ในสภาพดินทุกชนิด ชอบดินร่วนซุย กลางแจ้ง ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด และปักชำ เป็นไม้ประจำโรงเรียนวัดบึงทองหลาง

For faster navigation, this Iframe is preloading the Wikiwand page for ทองหลางลาย. Connected to: {{}} ทองหลางลาย การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ อาณาจักร: Plantae หมวด: Magnoliophyta ชั้น: Magnoliopsida อันดับ: Fabales วงศ์: Fabaceae วงศ์ย่อย: Faboideae สกุล: Erythrina สปีชีส์: E. variegata ชื่อทวินาม Erythrina variegata Lin ชื่อพ้อง Erythrina indica Lam.

เรื่องน่ารู้ : ทองหลางลาย | เดลินิวส์

ต้นทองหลางลาย เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชเนื่องจากมี ใบเป็นสีเขียว และ เส้นใบเป็นสีทอง ตรงกับ สีเขียว-ทอง ซึ่งเป็นสีประจำมหาวิทยาลัย ชื่อสามัญ Indian Coral Tree, Variegated Tiger's claw ชื่อวิทยาศาสตร์ Erythrina variegata Linn. วงศ์ LEGUMINOSAE ชื่ออื่น ทองบ้าน, ทางเผือก (ภาคเหนือ), ทองหลางด่าง, ทองหลางลาย, ปาริชาต (กรุงเทพฯ) ลักษณะทั่วไป เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 5–10 เมตร กิ่งอ่อนมีหนามเรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 3 ใบ ใบกลางจะโตกว่าสองใบด้านข้าง ออกดอกเป็นช่อยาวประมาณ 30–40 ซ. ม. รูปดอกถั่ว สีแดงเข้ม ออกดอกระหว่างเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ ผลเป็นฝักยาว 15–30 ซ. ม. ขยายพันธุ์ โดยการเพาะเมล็ด และปักชำ สภาพที่เหมาะสม สภาพดินทุกชนิด ชอบดินร่วนซุย กลางแจ้ง ถิ่นกำเนิด เอเชียเขตร้อนและอบอุ่น

  • ใบ ทองหลาง ลาย กนก
  • 50f1 8 stm ราคา x
  • เชือกกระโดด ปรับความยาวได้ - Speed jump rope - YouTube

ชื่อวิทยาศาสตร์: Scientific name: Erythrina variegata Linn. ชื่อเรียกอื่น: Other name(s): ทองบ้าน, ทางเผือก (ภาคเหนือ), ทองหลางด่าง ชื่อวงศ์: Family name: FABACEAE (LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE) ลักษณะ: เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ สูง 5–10 เมตร กิ่งอ่อนมีหนามเรือนยอดเป็นพุ่มกลมโปร่ง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อย 3 ใบ ใบกลางจะโตกว่าสองใบด้านข้าง ออกดอกเป็นช่อยาวประมาณ 30–40 ซ. ม. รูปดอกถั่ว สีแดงเข้ม ออกดอกระหว่างเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ ผลเป็นฝักยาว 15–30 ซ. ม. การกระจายพันธุ์: มีถิ่นกำเนิดในเอเชียเขตร้อนและอบอุ่น ช่วงเวลาการออกดอก: ประโยชน์: - แหล่งอ้างอิง: หนังสือพรรณไม้สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เล่ม - คิวอาร์โค้ด QR Code

ต้นไม้ประจำจังหวัดปทุมธานี ต้นทองหลางลาย - ๑๐๘ พรรณไม้ไทย

ทองหลางลายมีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการปักชำกิ่ง ใบใช้เป็นยากระตุ้นให้อยากอาหาร ใช้เป็นยานอนหลับ มีสรรพคุณเป็นยาแก้ไข้ อังคารที่ 19 กันยายน 2560 เวลา 05. 15 น. ทองหลางลายมีถิ่นกำเนิดในประเทศอินเดีย เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงได้ประมาณ 18-20 เมตร ตามลำต้นและกิ่งก้านมีหนามแหลมโค้งและคม ปลายหนามเป็นสีม่วงคล้ำ เปลือกลำต้นบางเป็นสีเทาอมน้ำตาล หรือเป็นสีเหลืองอ่อน ๆ เนื้อไม้เปราะ ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการปักชำกิ่ง ปลูกง่าย เจริญเติบโตได้ดีในดินทุกชนิด ใบทางสมุนไพร ใบใช้เป็นยากระตุ้นให้อยากอาหาร ใช้เป็นยานอนหลับ มีสรรพคุณเป็นยาแก้ไข้ ด้วยการใช้ใบสดประมาณ 20-40 กรัม ถ้าแห้งใช้เพียง 10-15 กรัม นำมาต้มกับน้ำกิน. คุณเห็นด้วยกับข่าวนี้หรือไม่ เห็นด้วย 0% ไม่เห็นด้วย ความคิดเห็น ข่าวล่าสุด

December 8, 2022