กฎหมาย มาตรา 33

61 ได้มีกลุ่มบุคคลมารวมตัวกันชูป้ายที่เป็นสัญลักษณ์ธงลายขาว-แดง ที่มีข้อความ "Thai Federation" อยู่บริเวณสกายวอล์คหน้าห้างมาบุญครอง (MBK) โดยในวันดังกล่าว มีรายงานว่าเจ้าหน้าที่ได้มีการควบคุมตัวบุคคลที่ออกมาทำกิจกรรมดังกล่าว อย่างน้อย 5 คน และมีอย่างน้อย 2 คน ถูกควบคุมตัวไปยังค่ายทหาร มทบ. 11 เป็นเวลา 5 วัน โดยอ้างคำสั่งหัวหน้าคสช. ที่ 3/2558 ในการควบคุมตัว ต่อมา มีการเเจ้งข้อกล่าวหากับบุคคลทั้ง 5 คน เเละมีการติดตามจับกุมบุคคลอีก 1 คน มาเเจ้งข้อกล่าวหาในภายหลัง ที่สน. ปทุมวัน ในข้อหามาตรา 116, ข้อหาอั้งยี่, ข้อหาไม่แจ้งการชุมนุม และชุมนุมสาธารณะในรัศมี 150 เมตร จากวังสระปทุม ตาม พ. การชุมนุมสาธารณะ ขณะที่เฉพาะผู้ต้องหาที่ 6 ยังถูกแจ้งข้อหากล่าวหาตามพ. คอมพิวเตอร์ฯ จากการเผยแพร่ภาพถ่ายกิจกรรมลงในเฟซบุ๊ก ทั้งนี้คดีนี้ในศาลชั้นต้นให้เหตุผลในการพิพากษายกฟ้องไว้ว่าการชูธง การร่วมกันสวมเสื้อดำของพวกเขารวมถึงการโพสต์เชิญชวนคนมาร่วมชุมนุมยังไม่ถึงกับเป็นการก่อความกระด้างกระเดื่องขึ้นในประเทศ อีกทั้งฝ่ายโจทก์ก็ไม่นำสืบให้เห็นว่าเป็นสมาชิกกลุ่มไลน์สหพันธรัฐไทหรือร่วมประชุมวางแผนกัน แต่ศาลก็เห็นว่าพวกเขาจัดการชุมนุมโดยไม่ได้แจ้งจัดการชุมนุมภายใน 24 ชั่วโมงก่อนและบริเวณที่ชุมนุมก็อยู่ในระยะ 150 เมตรจากวังสระปทุม ส่วนข้อหาพ.

อุทธรณ์ยืนคุก 1 ปี "เอกชัย หงส์กังวาน" ไม่รอลงอาญา โพสต์เรื่องลามกในเรือนจำ

ศ. … วุฒิสภา พิจารณาให้เสร็จโดยเร็วก่อนที่สภาจะเปิด เนื่องจากเมื่อสภาเปิดแล้วจะได้นำเข้าสู่การพิจารณาวาระ 2-3 ในที่ประชุมวุฒิสภา เพื่อให้ออกมาเป็นกฎหมาย แต่กว่ากฎหมายจะบังคับใช้ได้ ก็ต้องออกกฎหมายรองหรือประกาศของแต่ละกระทรวงตามมาอีก ซึ่งระยะเวลาของสภาก็เหลือไม่กี่เดือนแล้ว แล้วคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติมาตรการป้องกันการกระทำผิดซ้ำในความผิดเกี่ยวกับเพศหรือที่ใช้ความรุนแรง พ.

19 เม. ย. 2565 18:26 น. ศาลอุทธรณ์พิพากษายืนคุก 1 ปี "เอกชัย หงส์กังวาน" ไม่รอลงอาญา ในคดี พ. ร. บ. คอมพิวเตอร์ โพสต์เฟซบุ๊กเล่าเรื่องเพศสัมพันธ์ในเรือนจำ เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2565 ที่ศาลอาญา ถ. รัชดาภิเษก ศาลนัดอ่านคำพิพากษาของศาลอุทธรณ์ คดีดำ อ. 1032/62 ที่พนักงานอัยการคดีอาญา 5 เป็นโจทก์ยื่นฟ้อง นายเอกชัย หงส์กังวาน อายุ 47 ปี นักเคลื่อนไหวทางการเมือง เป็นจำเลยในความผิดฐานเผยแพร่ข้อความลามกอนาจาร ตาม พ. ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ. ศ.

กฎหมาย มาตรา 33 ans

ของวุฒิสภาให้เร่งรีบ "ที่บอกว่าทำไมเร่งรีบให้เร็ว ก็ตอบไปว่าเพราะผมเป็นผู้แทนและเป็น รมว.

การเมือง 19 เม. ย. 2565 เวลา 14:33 น. "สมศักดิ์"เร่งกมธ. ส. ว. พิจารณากฎหมาย JSOC ให้ทันเปิดสมัยประชุมสภา เชื่อ ป้องกันการกระทำผิดซ้ำทางเพศได้ โดยเฉพาะคดีข่มขืนอนาจาร ฆ่า ทำร้ายผู้อื่น และค่าไถ่ ย้ำ ต้องควบคุมให้อยู่หมัด นายสมศักดิ์ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม กล่าวถึงการเร่งผลักดันร่าง พ. ร. บ.

สมศักดิ์ เทพสุทิน รมว. ยุติธรรม ออกโรงหนุนสว. เร่งพิจารณา"ร่างกม. ป้องกันทำผิดซ้ำทางเพศ" เสนอให้ทันเปิดสภา สกัดพวกมีอิทธิฤทธิ์ผิดปกติ 19 เม. ย. 65 นายสมศักดิ์ เทพสุทิน รมว. ยุติธรรม เปิดเผยภายหลังการประชุมครม. ถึงกรณีที่มีเสียงวิพากษ์วิจารณ์ว่ากระทรวงยุติธรรมเร่งรีบพิจารณา ร่าง พ. ร. บ. ป้องกันทำผิดซ้ำทางเพศ-ความรุนแรง (JSOC) โดยนำเข้า ครม. และส่งไปวุฒิสภา ใช้เวลาเพียง 9 เดือน เร็วกว่ากฎหมายปกติที่เฉลี่ยใช้เวลาประมาณเกือบ 2 ปี ว่า การพิจารณาที่เร็ว เพราะมองเห็นปัญหาของสังคมที่วิจารณ์เรื่องการทารุณทางเพศ หรือเรื่องเกี่ยวกับฆาตกรรม การเรียกค่าไถ่ ขณะนี้กฎหมายดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนการพิจารณาของ กมธ. วิสามัญร่าง พ. ป้องกันทำผิดซ้ำทางเพศ-ความรุนแรง วุฒิสภา ซึ่งการพิจารณาที่เร็วต้องขอบคุณคนที่เห็นความสำคัญของกฎหมายที่จะออกมาป้องกันการกระทำทารุณทางเพศ ความรุนแรงที่เกี่ยวกับเด็ก เยาวชน และผู้ใหญ่ที่ถูกกระทำ เช่น การฆ่าข่มขืน หากออกมาเร็วจะช่วยป้องกันสุภาพสตรี และสร้างความปลอดภัยให้สตรีได้ จึงขอร้องวุฒิสภาพิจารณาให้เสร็จก่อนที่จะเปิดประชุมสภา เพื่อนำเข้าพิจารณาในวาระ 2 และ 3 ต่อไป ให้ออกมาเป็นกฎหมาย เพราะกว่าจะบังคับใช้ได้ จะต้องกฎหมายรองหรือประกาศกระทรวงตามออกมาอีก และเวลานี้อายุของสภาเหลืออีกแค่ไม่กี่เดือน จึงไม่ควรชักช้า อยากบอก กมธ.

คอมพิวเตอร์ของจำเลยอีก 1 คนนั้นภาพคลิปขณะเกิดเหตุการณ์ชุมนุมที่จำเลยโพสต์นั้นไม่ใช่ข้อมูลตาม พ. คอมพิวเตอร์ ที่กระทบต่อความมั่นคง ทั้งนี้คดีนี้เป็น 1 ใน 11 คดีเกี่ยวกับกลุ่ม "สหพันธรัฐไท" ที่เกิดขึ้นในช่วง 2561-2562 โดยมีจำนวนผู้ที่ถูกดำเนินคดีอย่างน้อย 20 คน และหลายคนก็ถูกคุมตัวเข้าค่ายทหารไปก่อนถูกดำเนินคดีด้วยข้อหายุยงปลุกปั่นและอั้งยี่เหมือนกับจำเลยในคดีนี้ ทั้งนี้พวกเขาต่างถูกดำเนินคดีจากต่างกรรมต่างวาระ พฤติการณ์ในคดีก็มีตั้งแต่นัดรวมตัวกัน ชุมนุมชูป้ายผ้า หรือกระทั่งขายเสื้อติดสัญลักษณ์สีขาวสลับแดง กิจกรรมที่หน้าห้างมาบุญครองเมื่อ 5 ธ. 2561 ที่มา: เพจองค์กรสหพันธรัฐไท ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนเคยรายงานว่า กลุ่มสหพันธรัฐไทนี้ถูกกล่าวถึงในรายงานของเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงมาตั้งแต่ในช่วงปี 2561 ซึ่งเป็นข้อมูลที่ถูกนำมาใช้กล่าวหาบุคคลในคดีต่างๆ ระบุว่าเป็นกลุ่มที่มีเป้าหมายต่อต้านคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช. )

ศาลอุทธรณ์ยกฟ้องจำเลย 6 คนคดีชุมนุมชูป้าย "สหพันธรัฐไท" ที่หน้าห้าง MBK วันพ่อปี 61 ข้อหายุยงปลุกปั่น อั้งยี่และพ. ร. บ. คอมฯ แต่ยังลงโทษปรับ10, 000 บาทข้อหาไม่แจ้งจัดชุมนุมและชุมนุมในระยะ 150 ม. จากวัง 19 เม. ย. 2565 ที่ศาลอาญา รัชดาฯ มีนัดฟังคำพิพากษาของศาลอุทธรณ์ในคดีจำเลย 6 คนชูป้าย "สหพันธรัฐไท" หน้าห้างมาบุญครองเมื่อ 5 ธ. ค. 2561 คดีนี้อัยการฟ้องทั้ง 6 คนหลายข้อหาได้แก่ ยุยงปลุกปั่น ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 116, เป็นอั้งยี่ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 209, ชุมนุมสาธารณะโดยไม่แจ้งจัดชุมนุมและชุมนุมสาธารณะในรัศมี 150 เมตร จากวังของพระบรมวงศ์ตั้งแต่สมเด็จเจ้าฟ้าขึ้นไป ตาม พ. การชุมนุมสาธารณะ พ. ศ. 2558 มาตรา 7 และ 10 และยังมีจำเลย 1 คนถูกฟ้องในความผิดตามพ. คอมพิวเตอร์ ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนรายงานว่าที่ศาลอุทธรณ์มีคำพิพากษายืนตามศาลชั้นต้นคือให้ยกฟ้อง 3 ข้อหาคือ มาตรา 116, เป็นอั้งยี่ และพ. คอมพิวเตอร์ฯ แต่ยังลงโทษปรับรวมเป็นเงิน 10, 000 บาทในข้อหาตามพ. ชุมนุมสาธารณะ 2 ข้อหาคือไม่แจ้งจัดการชุมนุมและชุมนุมในระยะ 150 เมตรจากเขตพระราชฐานข้อหาละ 5, 000 บาท อย่างไรก็ตามค่าปรับส่วนนี้จำเลยจ่ายไปแล้วในศาลชั้นต้นจึงไม่ต้องจ่ายอีก คดีนี้ เกิดเหตุจากเมื่อวันที่ 5 ธ.

  1. กฎหมาย มาตรา 33 http
  2. กฎหมายมาตรา 326
  3. กฎหมายมาตรา 309
December 7, 2022