Stem Education วิจัย

STEM Education โรงเรียนฝางวิทยายน ได้รับการคัดเลือกเป็นโรงเรียนทดลองวิจัยนำร่อง การจัดทำแนวการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการในกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และกลุ่มคณิตศาสตร์ (STEM Education) ในกลุ่มย่อยวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) โดย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลยุทธ์ในการจัดการเรียนการสอน STEM Education เน้นกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยใช้หลักการของโครงงาน (Project based Learning: PBL) ในการออกแบบการเรียนการสอน โดยแบ่งออกเป็น 3 ระยะได้แก่ 1. การวางแผนเตรียมการสอน 2. การลงมือปฏิบัติโครงงาน 3.

งานวิจัย – Chevron Enjoy Science

School

Youtube

ฐานข้อมูลผลงานการวิจัย | ThaiEdResearch ดาวน์โหลด ชื่อเรื่อง: รายงานการวิจัย เพื่อจัดทำข้อเสนอนโยบายการส่งเสริมการจัดการศึกษาด้านสะเต็มศึกษาของประเทศไทย STEM Education: Science, Technology, Engineering, and Mathematics Education เงื่อนไขด้านลิขสิทธิ์ Attribution อนุญาตให้เผยแพร่ Non-Commercial ไม่อนุญาตให้ใช้เพื่อการค้า No Derivative Works ไม่อนุญาตให้เปลี่ยนแปลงเนื้อหา หากมีการละเมิดลิขสิทธิ์งานวิจัย ถือว่าเป็นความรับผิดชอบของผู้ใช้งาน ยอมรับเงื่อนไขด้านลิขสิทธิ์ การนำไปใช้ประโยชน์ กรุณาสมัครสมาชิกหรือเข้าสู่ระบบเพื่อดาวน์โหลด งานวิจัยล่าสุด

Student

  1. Stem education วิจัย 1
  2. การศึกษามุมมองและประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา (STEM Education) ของนักศึกษาวิชาชีพครู || วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน
  3. Stem education วิจัย 2017

วิจัยทดลองการใช้รูปแบบการเรียนการสอนแบบ Stem Education - Dr.Kachen Kongpila

3 จากบริเวณ​จุดมืด AR2975 บนดวงอาทิตย์​ จุดมืดสำคัญที่เกิดการปะทุลุวาบติดต่อกันถึง 17 ครั้งเมื่อหลายวันก่อน ล่าสุดเมื่อ 00:37... Read More

คะแนนของนักศึกษาที่ทำแบบทดสอบความรู้และความเข้าใจอยู่ในช่วง 5-10 คะแนน และนักศึกษาส่วนใหญ่มีผลระดับคะแนนอยู่ที่ 7 คะแนน ดังนั้นค่าเฉลี่ยคะแนนของการวัดประสิทธิผลที่ได้จากการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาของนักศึกษาจึงเท่ากับ 8. 57 คะแนน ซึ่งเป็นคะแนนที่จัดอยู่ในระดับดี 2. ผลจากศึกษาความคิดเห็นและความพึงพอใจของนักศึกษา พบว่านักศึกษามีแนวโน้มความคิดเห็นและความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีกิจกรรมที่หลากหลายในเชิงบูรณาการ และสามารถนำมาใช้ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยคือ ความคิดเห็นของกลุ่มนักศึกษาส่วนใหญ่ควรเพิ่มเวลาในการจัดกิจกรรมในชั้นเรียนและกิจกรรมควรมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น Abstract The purposes of this research were to 1) study knowledge and understanding of student teachers in STEM education and 2) study the opinions and satisfaction on integrated STEM education. A number of 30 4th year student teachers from faculty of education Sakon Nakhon Rajabhat University given by purposive sampling were engaged as participants. The research process consisted of 1) studying concept and research related of the STEM education, 2) researching and evaluating the group of learners on integrated STEM education.

2. a Model of Learning Management for the Effectiveness of STEM Education of Secondary Schools in the Northeast, Thailand. Included 5 components: 1) principle 2) objectives 3) Content 4) Process implementation according to the STEM model 5) measurement and evaluate. 3. Effectiveness of Development of a Model of Learning Management for the Effectiveness of STEM Education of Secondary Schools in the Northeast, Thailand. Revealed that the model was appropriate at the highest level in overall ( = 4. 78) with the overall possibility. Is at the highest level ( = 4. 72) คำสำคัญ การพัฒนารูปแบบ, การบริหาร, การจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา Keyword Model Development, Learning Management, STEM Education Copyright (c) 2021 วารสารการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำเท่านั้น

stem education วิจัย youtube

องค์ประกอบหลักและองค์ประกอบย่อยการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษา ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบหลัก 23 องค์ประกอบย่อย 77 ตัวชี้วัด ดังนี้ 1) ด้านการวางแผนบริหารมี 4 องค์ประกอบย่อย 15 ตัวชี้วัด 2) ด้านการพัฒนาบุคลากร มี 3 องค์ประกอบย่อย 11 ตัวชี้วัด 3) ด้านกาพัฒนาหลักสูตรมี 4 องค์ประกอบย่อย 13 ตัวชี้วัด 4) ด้านการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา มี 5 องค์ประกอบย่อย 17 ตัวชี้วัด 5) ด้านการนิเทศการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา มี 4 องค์ประกอบย่อย 12 ตัวชี้วัด 6) ด้านการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา มี 3 องค์ประกอบย่อย 9 ตัวชี้วัด 2. รูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM) ที่มีประสิทธิผล ของโรงเรียนมัธยมศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีองค์ประกอบของรูปแบบ ดังนี้ 1) หลักการของรูปแบบ 2) จุดมุ่งหมายของรูปแบบ 3) เนื้อหา 4) กระบวนการดำเนินการตามรูปแบบบริหารสะเต็มศึกษา (STEM) 5) การติดตามและประเมินผล 3. ประสิทธิผลของรูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา (STEM) ที่มีประสิทธิผล ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พบว่า มีความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.

December 8, 2022