ภัย แล้ง ปี 63

กระทรวงเกษตรฯ เดินเครื่องจัดทำแผนป้องกันบรรเทาสาธารณภัยรับมือภัยแล้ง ปี 63/64 ห่วงกระทบไปถึงการขาดแคลนน้ำใช้ เบื้องต้นแผนการเพาะปลูกพืชฤดูแล้งทั่วประเทศ กำหนดไว้ที่ 5. 12 ล้านไร่ ด้านลุ่มน้ำเจ้าพระยา 22 จังหวัด วางไว้ที่ 1.

  1. "สทนช."แจงประกาศ"ภัยแล้ง"ปี 63/64 ไม่บิดเบือน "บิ๊กป้อม" สั่งช่วยนาข้าวประสบภาวะฝนทิ้งช่วง
  2. ร่วมประชุมด่วน เตรียมการรับมือ ภัยแล้งปี 62 และ 63

"สทนช."แจงประกาศ"ภัยแล้ง"ปี 63/64 ไม่บิดเบือน "บิ๊กป้อม" สั่งช่วยนาข้าวประสบภาวะฝนทิ้งช่วง

สทนช. ยืนยัน ฤดูแล้ง 2563/64 ที่ผ่านมา รัฐบาลวางมาตรการและแผนเชิงรุกรับมือ ภัยแล้ง ประสบผลสำเร็จ ชี้นิยาม การประกาศพื้นที่ ภัยแล้ง ตามหลักเกณฑ์ภัยพิบัติ ส่วนปัญหาข้าวนาปีขาดน้ำในปัจจุบัน เนื่องจากเกิดภาวะฝนทิ้งช่วง " บิ๊กป้อม " สั่งบูรณาการเร่งให้ความช่วยเหลือ มั่นใจสถานการณ์จะคลี่คลาย จากกรณีที่นายนพพล เหลืองทองนารา ส. ส. พิษณุโลก พรรคเพื่อไทย ระบุว่า พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานกรรมการทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (กนช. ) กล่าวว่าประเทศไทยไม่มีภัยแล้ง เป็นการโกหกประชาชนหรือไม่ เพราะในความเป็นจริง เกษตรกรประสบปัญหาภัยแล้งมาอย่างต่อเนื่อง ล่าสุดพื้นที่ปลูกข้าวทั่วประเทศไทย ข้าวกำลังยืนต้นตายหมดเพราะชลประทานไม่ปล่อยน้ำเข้าพื้นที่นั้น ดร. สมเกียรติ ประจำวงษ์ เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช. ) ในฐานะรองผู้อำนวยการกองอำนวยการน้ำแห่งชาติ (กอนช. )

  1. กระเป๋า coach สี ดํา ยี่ห้อไหนดี
  2. "ภัยแล้ง 2563" รวมข่าวเกี่ยวกับ "ภัยแล้ง 2563" เรื่องราวของ"ภัยแล้ง 2563"
  3. รับมือภัยแล้งปี 63 รุนแรง ฝนตกน้อยทิ้งช่วงนาน ประปาไหลอ่อน กระทบคนกรุง | ไทยรัฐออนไลน์ - ในประเทศ | LINE TODAY
  4. เงินช่วยเหลือชาวนาภัยแล้งปี62/63#6-11-62 - YouTube
  5. ภัย แล้ง ปี 63.fr
  6. เลือกเลขทะเบียนรถมงคล ตามวันเกิดอย่างไรให้ปัง! | โชคดีทะเบียน
  7. จอง ตั๋ว เครื่อง บิ
ภัย แล้ง ปี 63 amg

ร่วมประชุมด่วน เตรียมการรับมือ ภัยแล้งปี 62 และ 63

กรุงเทพฯ 31 ก. ค. – ผลผลิตอ้อยฤดูกาลผลิตปี 63/64 กระทบหนักจากฝนแล้งต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 ชาวไรอ้อยบางส่วนเปลี่ยนไปปลูกมันสำปะหลัง เพราะเห็นว่าราคาดี ส่งผลกระทบผลผลิตเบื้องต้นปีนี้ลดลงเหลือ 70 ล้านตันอ้อย นายวิฤทธิ์ วิเศษสินธุ์ รองเลขาธิการคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย เปิดเผยสำนักข่าวไทยว่า ทางคณะกรรมการอ้อยคาดการณ์ผลผลิตอ้อยฤดูกาลผลิตปี 2563/2564 ที่จะเก็บเกี่ยวปีหน้านั้น ผลจากภัยแล้งต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 และไทยปลูกอ้อยประมาณร้อยละ 80 เป็นการปลูกที่ต้องอาศัยน้ำจากฝน จึงคาดว่าผลผลิตอ้อยในภาพรวมจะยังคงลดลงต่อเนื่องเหลือประมาณ 65-70 ล้านตันอ้อย หรือคิดเป็นผลผลิตน้ำตาลประมาณ 7.

มีแผนจะผันน้ำจากแม่น้ำแม่กลองมาช่วยผลักดันน้ำเค็มในแม่น้ำเจ้าพระยา แต่ปัญหาน้ำประปาเค็มยังจะเกิดขึ้นอีกเป็นระยะๆ เมื่อมีน้ำทะเลหนุนสูง หลังกลางเดือน มี. ปัญหานี้จึงลดลง และในระยะยาวน้ำทะเลมีแนวโน้มจะหนุนสูงขึ้นเรื่อยๆ ทุกปี 13) แม้น้ำประปาเค็มสามารถดื่มได้ แต่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้ป่วยโรคไต เด็ก และผู้สูงอายุ จึงควรหลีกเลี่ยง ซื้อน้ำขวดดื่มแทน และที่สำคัญการต้มและใช้เครื่องกรองน้ำทั่วๆ ไปไม่ได้ช่วยทำให้ความเค็มของน้ำลดลง 14) สำหรับการรับมือภัยแล้ง กรมชลประทานยืนยันว่า ประชาชนจะมีน้ำเพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคจนถึงเดือน ก. อย่างแน่นอน โดยขอความร่วมมือให้ทุกๆ คนช่วยกันประหยัดน้ำ ขณะที่ อบต. หลายแห่งขอให้เกษตรกรงดสูบน้ำไปทำการเกษตร เพื่อเก็บน้ำเอาไว้ใช้อุปโภคบริโภค 15) สุดท้ายคงต้องรอดูกันต่อไปว่า เราจะสามารถผ่านพ้นวิกฤตภัยแล้งปี 2563 นี้ไปได้ โดยมีน้ำเพียงพอต่อการอุปโภคบริโภคอย่างที่รัฐยืนยันหรือไม่ แล้วปัญหานี้จะยังคงวนเวียนกลับมาในปี 2564 อีกหรือไม่ เพราะเมื่อพิจารณาจากเหตุปัจจัยแล้ว ที่ปี 63 แล้งเร็วกว่าปกติ ส่วนหนึ่งเป็นเพราะในปี 62 ฝนตกน้อย ทำให้มีน้ำสะสมไม่เพียงพอ แต่ในปี 2563 นี้ ทั้งแล้งเร็ว แล้งนาน และมีแนวโน้มว่า ฝนจะตกน้อยกว่าค่าเฉลี่ยไม่ต่างจากปี 62 นัก จึงเป็นที่น่าตั้งคำถามว่า ในปี 2564 ไทยจะรับมือกับปัญหาที่ทับถมกันไปเรื่อยๆ นี้อย่างไร

คลอดมาตรการควบคุมการบริหารจัดการน้ำช่วงฤดูแล้งปีนี้ โดยจะคุมเข้ม 2 ลุ่มน้ำ ที่มีการใช้น้ำเกินแผน นั่นคือ ลุ่มน้ำเจ้าพระยา ควบคุมการปลูกพืชฤดูแล้ง ในและนอกเขตชลประทาน ป้องกันผลกระทบต่อปริมาณน้ำอุปโภคบริโภค ควบคุมการลำเลียงน้ำท้ายอ่างเก็บน้ำ 3 แห่ง คือ ภูมิพล สิริกิติ์ และป่าสักชลสิทธิ์ ให้เป็นไปตามแผน เพื่อการอุปโภคบริโภคและรักษาระบบนิเวศเท่านั้น พร้อมรณรงค์การใช้น้ำภาคการเกษตรประหยัดที่สุด ลุ่มน้ำภาคตะวันออกในพื้นที่โครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) โดยคาดการณ์ว่า ปริมาณน้ำจะไม่เพียงพอตั้งแต่ พ. 2563 ดังนั้นต้องเตรียมหาน้ำสำรอง โดยการประปาส่วนภูมิภาคและอีสท์วอเตอร์ พิจารณาแนวทางการผันน้ำจากอ่างเก็บน้ำประแกด จ. จันทบุรี มายังอ่างเก็บน้ำประแสร์ จ. ระยอง และเร่งดำเนินการวางท่อส่งน้ำจากอ่างเก็บน้ำหนองปลาไหลมายังสถานีผลิตน้ำมาบยางพร จ. ระยอง และส่งไปยังสถานีผลิตน้ำหนองกลางดง จ. ชลบุรี ให้แล้วเสร็จภายใน ม. 2563 สทนช. ต้องมีน้ำใช้ตลอดปี นายสมเกียรติ ประจำวงษ์ เลขาธิการสำนักงานทรัพยากรน้ำแห่งชาติ (สทนช. ) เปิดเผยภายหลัง เ ข้า ร่วมประชุมแนวทางการประชาสัมพันธ์สถานการณ์น้ำและการให้ความช่วยเหลือประชาชนในช่วงฤดูแล้ง ว่าการแก้ปัญหาภัยแล้งขณะนี้ เป็นการแก้ปัญหาระยะสั้น ให้ผ่านช่วงภัยแล้งปีนี้ โดยเป็นการแก้ปัญหาน้ำอุปโภคบริโภค และน้ำทางการเกษตร ซึ่ง พล.

5 และ -41. 0 ตามลำดับ ส่งผลให้ปริมาตรน้ำในเขื่อนที่ใช้การได้ทั้งประเทศในปี 2563 มีแนวโน้มลดลงอย่างเห็นได้ชัด โดยปริมาตรน้ำในเขื่อนที่ใช้การได้ทั้งประเทศ ณ วันที่ 3 เมษายน 2563 อยู่ที่ 12, 591. 9 ล้านลูกบาศก์เมตร ต่ำกว่าช่วงเดียวกันของปี 2558 และปี 2562 อยู่ที่ร้อยละ -18. 0 และ -37. 5 ตามลำดับ ซึ่งภาคที่มีปริมาตรน้ำลดลงมากที่สุดเมื่อเทียบกับปี 2558 ได้แก่ ภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออก อยู่ที่ร้อยละ -59. 4, -44. 1 และ -41. 8 ตามล้าดับ ทั้งนี้ สถานการณ์ภัยแล้ง ปี 2563 จะรุนแรงมากขึ้น หากเกิดฝนทิ้งช่วงที่ยาวนานกว่าที่คาดการณ์ไว้ โดยภาพรวม ณ วันที่ 3 เม. ย.

December 8, 2022